Thursday, March 26, 2009

การประยุกต์ใช้อีเอ็มไล่แมลง

สมหวัง วิทยาปัญญานนท์

การประยุกต์ใช้อีเอ็มไล่แมลง

EM as Insecticide

การใช้ EM ในการเกษตรแบ่งออกเป็น ลักษณะคือ แบบน้ำและแบบแห้ง

วิธีการประยุกต์ใช้แบบน้ำ

. EM ผสมน้ำฉีดพ่น รด ราด ต้นไม้สัปดาห์ละ ๑- ครั้ง ในอัตราส่วน EM ๑ ลิตร ต่อน้ำ ,๐๐๐ ลิตร (EM ๑ ฝา ต่อน้ำ บัวรดน้ำ)

. EM ผสมน้ำในอัตราส่วน EM ลิตร ต่อน้ำ ,๐๐๐๑๐,๐๐๐ ลิตร ให้สัตว์กิน เช่น สุกร, ไก่ ฯลฯ กินเป็นประจำ มูลจะไม่มีกลิ่นเหม็นสุขภาพของสัตว์จะแข็งแรง และปลอดโรค

. EM ทำเป็นเชื้อหมักขับไล่แมลง สุโตจู (EMS)

. EM ทำสารสกัดพืชหมัก (EM FPE)

. EM ทำฮอร์โมนพืช

วิธีประยุกต์ใช้แบบแห้ง

การขยายเชื้อ EM แบบแห้งที่เรียกว่าโบกาฉิ โดยการใช้ EM ผสมกับกากน้ำตาล และวัสดุต่างๆ ทำการขยายเชื้อ EM แบบแห้ง สามารถทำได้หลายรูปแบบดังนี้

. โบกาฉิมูลสัตว์

. โบกาฉิฟาง

. ปุ๋ยคอกหมัก

. ปุ๋ยหมักดิน

. ปุ๋ยหมัก ๒๔ ชั่วโมง

. ซุปเปอร์โบกาฉิ

เทคนิคการใช้ EM แบบน้ำ

EM ขยายเป็นการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ให้แข็งแรงและเพิ่มจำนวนโดยการใช้อาหารประเภทกากน้ำตาลหรืออื่นๆ ที่ใช้แทนกันได้ โดยมีส่วนผสมคือ

EM

กากน้ำตาล

น้ำสะอาด

1

1

20

นำส่วนผลมทั้งหมดใส่ในภาชนะที่มีฝาปิดชิดไม่ให้มีอากาศเข้าหมักไว้เป็นเวลา วัน หลังจากนั้นจึงนำไปใช้ให้หมดภายใน วัน (วิธีการนี้ EM ขยายจะมีประสิทธิภาพและได้ผลดีที่สุด) การเก็บและการดูแลรักษาเหมือน EM หัวเชื้อ

หมายเหตุ

กรณีไม่มีกากน้ำตาลสามารถใช้น้ำตาลทรายแดงแทนได้ อัตราส่วนน้ำตาลทรายแดง . ผสมน้ำ ๑๐ ลิตร

สุโตจู (EM5) เชื้อหมักขับไล่แมลง

สุโตจู (EM5) เป็นสารที่ใช้ป้องกันและขับไล่แมลงศัตรูพืช พร้อมทั้งเสริมสร้างความต้านทานเพื่อป้องกันและช่วยกำจัดโรคพืชบางชนิดได้

ส่วนผสม(โดยประมาณ)

EM

กากน้ำตาล

เหล้าข้าว 28 - 40

น้ำส้มสายชูกลั่น

(ปริมาณกรดน้ำส้ม 5%)

น้ำสะอาด

1

1

1

1

6

วิธีทำ

. ผสมกากน้ำตาลกับน้ำให้ละลายแล้วจึงใส่เหล้าขาว นำส้มสายชูกลั่น และ EM คนให้เข้ากัน

. นำส่วนผสมที่ได้บรรจุภาชนะพลาสติกที่ใช้หมัก ปิดฝาให้สนิทหมักไว้ ๑๕ วัน

. ในระหว่างการหมักควรเขย่าภาชนะ แล้วเปิดฝาเพื่อระบายก๊าซออก

. สุโตจู (EM5) สามารถเก็บไว้ได้นานถึง เดือน แต่ต้องเปิดฝาระบายก๊าซออกเป็นครั้งคราว

วิธีใช้

. สุโตจู (EM5) อัตราส่วน ๑๐ ซี.ซี ( ช้อนโต๊ะ) ผสมด้วยน้ำสะอาด ลิตร อาจใช้กากน้ำตาล นมสด ๑๐ ซี.ซี ร่วมด้วยเพื่อเป็นสารจับใบ

. สุโตจู (EM5) สามารถใช้ร่วมสมุนไพร ได้แก่ สะเดา, ดีปลี, ตะไคร้หอม ฯลฯ

. สุโตจู (EM5) ใช้ฉีดพ่นพืช สัปดาห์ละ - ครั้ง ตามความเหมาะสม โดยฉีดพ่นให้ชุ่มทั่วทั้งนอกและในทรงพุ่ม

. สุโตจู(EM5) ผสมกับ EM FPE (สารสกัดพืชหมัก ) จะทำให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

หมายเหตุ

- พืชกำลังแตกใบอ่อนให้ใช้อัตราส่วนที่เจือจาง

- สุโตจู (EM5) ไม่ควรทำไว้มากและเก็บไว้นาน จะทำให้คุณภาพลดลง

- เพลี้ยใช้ใบสาบเสือหมัก

ภูมิปัญญาอภิวัฒน์
Budding Wisdom

กลับขึ้นบน

No comments:

Post a Comment